Page 8 - องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
P. 8
การจัดการสวนป่ าเพื่อความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม / ชีวภาพ
( Environment / Biology Sustainability )
เพื่อให้ความยั่งยืนทางชีววิทยาและนิเวศวิทยา [ Biological and Ecological Sustainability ]
กิจกรรมหรือกิจการต่างๆ ที่สวนป่ าด าเนินการ ต้องไม่ก่อผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชีวภาพ รวมทั้งการ
ด าเนินงานต่างๆ ต้องช่วยเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ
ซึ่งมีแนวทางในการบริหารจัดการสวนป่ าเพื่อความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม ดังนี้.-
1) ก าหนดให้มีพื้นที่อนุรักษ์ ( Conservation Zone ) อย่างน้อย 5 % ของพื้นที่สวนป่ าในบริเวณต่อไปนี้
* สองฝั่งล าห้วย ( Stream Bank)
* แนวเขตป้องกันรอบนอก ( Buffer Zone ) /แนวเขตระหว่างแปลงปลูก ( Edge Zone )
* พื้นที่สูงชัน ( High Erosion Area )
* พื้นที่ป่ ากึ่งธรรมชาติ ( Semi - Natural Forest )
* พื้นที่ที่มีคุณค่าพิเศษ ( Key Habitat or Biotope Area )
* พื้นที่ที่ต้นไม้มีการเจริญเติบโตไม่ดี ( Non - Productive Area )
* แหล่งอาศัยของสัตว์ / พืช ที่ใกล้สูญพันธุ์ ( Endangered Species )
* พื้นที่ที่มีหินขนาดใหญ่ ( Boulder Zone ) และเก่าแก่
* พื้นที่ป่ าธรรมชาติ ( Natural Forest )
2) อนุรักษ์ต้นไม้ป่ าที่มีผล ( Fruit Tree ) ส าหรับเป็นอาหารของสัตว์ป่ าและนกชนิดต่าง ๆ
3) อนุรักษ์ต้นไม้ใหญ่ ( Big Tree ) และต้นไม้ที่มีอายุมาก ๆ ( Very Old Tree )
4) อนุรักษ์ต้นไม้ ที่เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่ า และนกต่าง ๆ
5) อนุรักษ์ต้นไม้ ที่มีคุณค่าด้านพันธุกรรม ( Genetic Tree ) SP : องค์การอุตสาหกรรสป่าไม้
6) อนุรักษ์ไม้เศรษฐกิจพื้นเมืองไว้ในแปลงปลูก
7) ส่งเสริมการปลูกไม้พื้นเมือง ( Endemic Species ) ของประเทศไทยเป็นล าดับแรก
8) ตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม / ความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งก่อนและหลัง การเก็บเกี่ยวผลผลิตไม้
9) หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี และใช้สารเกษตรอินทรีย์แทน
10) ห้ามล่าสัตว์ป่ าและเก็บพันธุ์ไม้ที่ใกล้สูญพันธุ์ในสวนป่ า
11) คัดเลือกวิธีการเก็บเกี่ยวผลผลิตที่อนุรักษ์และเหมาะสมกับพื้นที่สวนป่ า
12) มีแนวทางการฟื้ นฟูพื้นที่ที่มีคุณค่าสูง ด้านการอนุรักษ์ระบบนิเวศและสังคมในสวนป่ า
8
13) ส่งเสริมให้มีระบบการสืบพันธุ์ตามธรรมชาติ เพื่อเลียนแบบธรรมชาติให้มากที่สุด
14) มีขบวนการตรวจสอบติดตามการบริหารจัดการสวนป่ าอย่างยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
15) อื่นๆ