Page 64 - รายงานประจำปี 2562 (แก้ไข 30 ต.ค.63)
P. 64
โครงสร้างธรรมาภิบาล
คณะกรรมการขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ มีคณะกรรมการขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ เป็นผู้วางนโยบายและควบคุมดูแล
โดยทั่วไปซึ่งกิจการขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ โดยมีอ านาจหน้าที่ หลักเกณฑ์การแต่งตั้ง และค่าตอบแทน ดังนี้
อ านาจหน้าที่
คณะกรรมการขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ มีอ านาจหน้าที่ตาม :
- พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ พ.ศ. 2499 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
- พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543
- ข้อบังคับของ องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
หลักเกณฑ์การแต่งตั้ง
พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ พ.ศ. 2499 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 13 ให้มี
คณะกรรมการบริหารกิจการขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ คณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้”
ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นประธานกรรมการ หัวหน้ากลุ่มภารกิจ
ในกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมอบหมาย อธิบดีกรมป่าไม้
อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ผู้แทนกระทรวงการคลัง และกรรมการอื่นซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจ านวน
ไม่เกินห้าคน เป็นกรรมการ ให้ผู้อ านวยการเป็นกรรมการและเลขานุการ”
คณะรัฐมนตรี ในคราวประชุม เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2560 ได้มีมติรับทราบแนวทางการแต่งตั้งกรรมการ
รัฐวิสาหกิจ ตามที่ส านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ เสนอและให้กระทรวงเจ้าสังกัดของรัฐวิสาหกิจ และหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและได้รับความไว้เนื้อเชื่อใจจากประชาชนต่อไป ดังนี้
1) ให้น าสมรรถนะหลักและความรู้ที่จ าเป็น (Skill Matrix) มาใช้ในการพิจารณาสรรหา และแต่งตั้งกรรมการ
รัฐวิสาหกิจ เพื่อให้รัฐวิสาหกิจได้กรรมการตรงกับความต้องการที่แท้จริงในการขับเคลื่อนและพัฒนารัฐวิสาหกิจ
ทั้งนี้ กรณีกฎหมายจัดตั้งของรัฐวิสาหกิจ ได้ก าหนดความเชี่ยวชาญไว้เป็นการเฉพาะการก าหนด Skill Matrix ต้องเป็นไปตาม
ความเชี่ยวชาญดังกล่าวด้วย ก าหนดให้มี Skill Matrix หลัก 4 ด้าน ได้แก่ การเงิน บัญชี กฎหมาย และเทคโนโลยีสารสนเทศ
2) ในการแต่งตั้งกรรมการอื่นที่มิใช่กรรมการโดยต าแหน่งในรัฐวิสาหกิจแห่งใด ให้ผู้มีอ านาจพิจารณาเสนอชื่อ
จากผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์การท างานภาคธุรกิจ ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจ านวนกรรมการอื่นของรัฐวิสาหกิจนั้น
ทั้งนี้ เพื่อให้รัฐวิสาหกิจมีกรรมการที่มีความรู้ความสามารถจากภาคธุรกิจต่างๆ มากยิ่งขึ้น (กรรมการที่มิใช่กรรมการโดยต าแหน่ง
หมายรวมถึง ประธานกรรมการ และรองประธานกรรมการ ที่มิใช่โดยต าแหน่ง ภาคธุรกิจ หมายถึง ภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ
หรือหน่วยงานที่มิใช่ส่วนราชการ)
3) ห้ามมิให้มีการแต่งตั้งผู้บริหารสูงสุด หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่งแห่งใดเป็นกรรมการในคณะกรรมการ
รัฐวิสาหกิจอื่น เว้นแต่กรณีที่มีกฎหมายก าหนด หรือกรณีการแต่งตั้งเป็นกรรมการในคณะกรรมการของบริษัทที่รัฐวิสาหกิจนั้น
ถือหุ้นอยู่ ทั้งนี้ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานส าหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518
และที่แก้ไขเพิ่มเติม ในเรื่องของการปฏิบัติงานของผู้บริหารสูงสุดและพนักงานรัฐวิสาหกิจ
4) ไม่แต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ข้าราชการการเมือง และผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง
เป็นกรรมการในคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจเพิ่มเติม ทั้งนี้ เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 2560
หน้า 46 อ.อ.ป. ปลูกป่าเพื่อประชาชน รายงานประจ าปี 2562 องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้